• หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสมาคมฯ
    • ประวัติสมาคมฯ
    • อดีตนายกสมาคมฯ
    • สารจากนายกสมาคมฯ
    • คณะกรรมการบริหาร
    • คณะอนุกรรมการ
      • คณะอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบฯ
      • คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง
      • คณะอนุกรรมการวารสารและสารสนเทศ
      • คณะอนุกรรมการปฏิคมและประชาสัมพันธ์
  • วารสารยูโร
    • ประวัติวารสารยูโร
    • อดีตบรรณาธิการใหญ่
    • สารจากบรรณาธิการใหญ่
    • กองบรรณาธิการ
    • ติดต่อวารสารยูโร
    • เวบไซต์วารสารยูโร
    • รางวัลบทความดีเด่น
    • บทความประจำสัปดาห์
  • ชมรมต่างๆ ในสมาคมฯ
    • ชมรมควบคุมระบบขับถ่ายปัสสาวะแห่งประเทศไทย
    • ชมรมศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะเด็กแห่งประเทศไทย
    • ชมรมไทยเอนโดยูโร
    • ชมรมระบบทางเดินปัสสาวะและสุขภาพเพศชายแห่งประเทศไทย
  • การฝึกอบรมศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
    • ประวัติการฝึกอบรมฯ
    • อดีตประธานอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • สารจากประธานอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • คณะอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • หลักสูตรศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
    • ติดต่ออนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • มุมแพทย์ประจำบ้าน
    • สถาบันฝึกอบรมต่างๆ
  • ระเบียงภาพถ่าย
  • ติดต่อสมาคมฯ
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลงทะเบียน
  • th ไทย
  • en English
Thai Urological Association - สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสมาคมฯ
    • ประวัติสมาคมฯ
    • อดีตนายกสมาคมฯ
    • สารจากนายกสมาคมฯ
    • คณะกรรมการบริหาร
    • คณะอนุกรรมการ
      • คณะอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบฯ
      • คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง
      • คณะอนุกรรมการวารสารและสารสนเทศ
      • คณะอนุกรรมการปฏิคมและประชาสัมพันธ์
  • วารสารยูโร
    • ประวัติวารสารยูโร
    • อดีตบรรณาธิการใหญ่
    • สารจากบรรณาธิการใหญ่
    • กองบรรณาธิการ
    • ติดต่อวารสารยูโร
    • เวบไซต์วารสารยูโร
    • รางวัลบทความดีเด่น
    • บทความประจำสัปดาห์
  • ชมรมต่างๆ ในสมาคมฯ
    • ชมรมควบคุมระบบขับถ่ายปัสสาวะแห่งประเทศไทย
    • ชมรมศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะเด็กแห่งประเทศไทย
    • ชมรมไทยเอนโดยูโร
    • ชมรมระบบทางเดินปัสสาวะและสุขภาพเพศชายแห่งประเทศไทย
  • การฝึกอบรมศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
    • ประวัติการฝึกอบรมฯ
    • อดีตประธานอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • สารจากประธานอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • คณะอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • หลักสูตรศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
    • ติดต่ออนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • มุมแพทย์ประจำบ้าน
    • สถาบันฝึกอบรมต่างๆ
  • ระเบียงภาพถ่าย
  • ติดต่อสมาคมฯ
ไม่พบข้อมูล
ดูทั้งหมด
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสมาคมฯ
    • ประวัติสมาคมฯ
    • อดีตนายกสมาคมฯ
    • สารจากนายกสมาคมฯ
    • คณะกรรมการบริหาร
    • คณะอนุกรรมการ
      • คณะอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบฯ
      • คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง
      • คณะอนุกรรมการวารสารและสารสนเทศ
      • คณะอนุกรรมการปฏิคมและประชาสัมพันธ์
  • วารสารยูโร
    • ประวัติวารสารยูโร
    • อดีตบรรณาธิการใหญ่
    • สารจากบรรณาธิการใหญ่
    • กองบรรณาธิการ
    • ติดต่อวารสารยูโร
    • เวบไซต์วารสารยูโร
    • รางวัลบทความดีเด่น
    • บทความประจำสัปดาห์
  • ชมรมต่างๆ ในสมาคมฯ
    • ชมรมควบคุมระบบขับถ่ายปัสสาวะแห่งประเทศไทย
    • ชมรมศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะเด็กแห่งประเทศไทย
    • ชมรมไทยเอนโดยูโร
    • ชมรมระบบทางเดินปัสสาวะและสุขภาพเพศชายแห่งประเทศไทย
  • การฝึกอบรมศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
    • ประวัติการฝึกอบรมฯ
    • อดีตประธานอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • สารจากประธานอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • คณะอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • หลักสูตรศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
    • ติดต่ออนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • มุมแพทย์ประจำบ้าน
    • สถาบันฝึกอบรมต่างๆ
  • ระเบียงภาพถ่าย
  • ติดต่อสมาคมฯ
ไม่พบข้อมูล
ดูทั้งหมด
Thai Urological Association - สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ไม่พบข้อมูล
ดูทั้งหมด
หน้าแรก ความรู้

การดูแลปืนฉีดน้ำ

admin โดย admin
มิถุนายน 12, 2020
in ความรู้
0
0
SHARES
1k
VIEWS
Share on FacebookShare on Twitter

บทความสุขภาพเพศชายจาก TUA? 
เรื่อง ?มาดูแลปืนฉีดน้ำให้ถูกวิธีกันเถอะครับ

ช่วงนี้ฝนตกบ่อย หลายคนก็คงผ่านประสบการณ์เปียก อับ ชื้นมากันไม่มากก็น้อย วันนี้เราก็เลยเอาวิธีดูแลปืนฉีดน้ำมาฝากกันครับ

1.เลือกใช้สบู่อ่อนๆ 
ควรเลือกใช้สบู่อ่อน ๆ นะครับ ผิวตรงนั้นบอบบาง ไม่ต้องรุนแรงมาก จะใช้สบู่ที่มีส่วนผสมของมอยส์เจอไรเซอร์กับแอนตี้แบคทีเรียหรือไม่ก็ได้ หรือถ้าหาไม่ได้ก็แค่สบู่เด็กก็พอครับ

2.เช็คปืนฉีดน้ำว่าสกปรกหรือไม่ 
เวลาอาบน้ำทุกครั้ง ควรดูให้แน่ใจว่ามีสิ่งสกปรกใด ๆ ที่น้องเราหรือไม่ สำหรับหนุ่ม ๆ ที่ยังมีหมวกคลุม ก็ต้องเช็กว่ามีคราบขาว ๆ หมักหมมใต้หมวกหรือไม่ เพราะหากมี จะทำให้น้องชายมีกลิ่นเหม็นและมีโอกาสเสี่ยงที่จะเป็นโรคมะเร็งจู๋ด้วยครับ ถ้าเปิดหมวกได้ไม่ดีหรืออักเสบบ่อย ก็ไปให้คุณหมอขริบให้ ยอมเจ็บซักนิดเพื่อสุขอนามัยที่ดีของเราและคนที่เรารักครับ

3.ทำให้แห้งอยู่เสมอ 
เนื่องจากความชื้น มันจะทำให้เชื้อโรคเจริญเติบโตได้ดีครับ ฉะนั้นควรดูแลบริเวณสำคัญให้แห้งอยู่เสมอ หลังอาบน้ำควรใช้ผ้าขนหนูนุ่ม ๆ เช็ดน้องชายให้แห้งสนิทก่อนสวมชั้นใน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความชื้นสะสม ซึ่งเป็นที่มาของกลิ่นอันไม่พึงประสงค์ได้ครับ

4.เล็มขนรอบ ๆ น้องชายบ้าง 
การเล็มขนที่อยู่บริเวณนั้นให้สั้น จะช่วยลดกลิ่นเหม็นและอาการระคายเคืองได้ เพราะขนบริเวณดังกล่าวเป็นแหล่งสะสมของเหงื่อ เซลล์ผิวที่ตายแล้ว และเชื้อแบคทีเรีย แต่อย่าโกนอย่างเด็ดขาด เพราะอาจทำให้คันและมีขนคุดอักเสบได้ครับ 

5.ให้น้องชายได้สูดอากาศบ้าง 
เนื่องจากปกติปืนฉีดน้ำเราอยู่ในกางเกงชั้นในและกางเกงชั้นนอกตลอดทั้งวัน นอกจากจะมีเหงื่อสะสมแล้ว ยังก่อให้เกิดเชื้อราบริเวณโดยรอบได้ ถ้าเป็นไปได้ควรปล่อยน้องชายเป็นอิสระอย่างน้อยวันละ 2-3 ชั่วโมงขณะอยู่บ้าน(แค่ใส่บ๊อกเซอร์นะ ไม่ใช่แก้ผ้า)? เพื่อระบายความอับชื้นนั่นเอง หรือไม่ก็นอนโดยไม่ใส่ชั้นในก็ได้ครับ? 

6.เลือกใส่กางเกงในบาง ๆ? 
การเลือกใส่ชั้นในที่ทำจากผ้าเนื้อบาง จะช่วยระบายความร้อนและลดเหงื่อได้ดีกว่าการใส่ชั้นในหนา ๆ ซึ่งเป็นสาเหตุของอาการระคายเคืองที่ง่ามขาครับ

7.ใส่แล้วก็ซักด้วย 
กางเกงชั้นในเป็นสิ่งที่ห่อหุ้มน้องเราตลอดทั้งวัน ซึ่งอาจก่อให้เกิดสิ่งสกปรกสะสม ดังนั้นควรเปลี่ยนกางเกงในทุกวัน ไม่ใส่ซ้ำ และควรซักกางเกงชั้นในให้สะอาดอยู่เสมอครับ ไม่ค่อยปล่อยทิ้งไว้นาน เพราะอาจมีเชื้อราได้ครับ 

ก็เป็นสาระที่เอามาฝากกันนะครับ ใครที่รู้สึกตะหงิด ๆ ว่าน้องชายไม่สะอาดเท่าที่ควร ก็สามารถนำวิธีเหล่านี้ไปใช้กันได้กเลย เพื่อสุขอนามัยที่ดีของเราและคนที่เรารักครับ 

มีปัญหาเรื่องทางเดินปัสสาวะผิดปกติ ควรปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ?เพื่อทำการตรวจและรักษาได้อย่างถูกต้องครับ 

TUA ขอขอบคุณหมอยูโรคนเก่ง สำหรับสาระสุขภาพเพศชายดีๆ?

ผู้เขียน นพ.กัมปนาท พรยศไกร

โรงพยาบาลมหาราชนครศรีธรรมราช 

ผู้ตรวจทาน อ. นพ.กวิรัช ตันติวงษ์ 

โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย 

Previous Post

กระเพาะปัสสาวะทำงานไวเกิน (Overactive Bladder)

Next Post

หนังหุ้มปลายไม่เปิด

Next Post
หนังหุ้มปลายไม่เปิด

หนังหุ้มปลายไม่เปิด

Stay Connected

  • 4.4k Fans

Popular Knowledge

ไข่ไม่ลงถุง

ไข่ไม่ลงถุง

3 ปี ที่ผ่านมา

การดูแลปืนฉีดน้ำ

3 ปี ที่ผ่านมา
ปัสสาวะเล็ดราด

ปัสสาวะเล็ดราด

3 ปี ที่ผ่านมา
ช้างน้อยจม

ช้างน้อยจม

3 ปี ที่ผ่านมา
Thai Urological Association – สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ชมรมศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการครั้งแรกในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2508
วัตถุประสงค์ของชมรม คือ การแลกเปลี่ยนความรู้ ปรึกษาหารือกันในทางด้านวิชายูโรวิทยา

ติดตามเรา

ติดต่อสมาคม


  • สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะแห่งประเทศไทย
    ในพระบรมราชูปถัมภ์
    2 อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ปี ชั้น 7 ซอยศูนย์วิจัย
    ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
    โทรศัพท์: 02-716-6672
    อีเมล: thaiuro@gmail.com
    เพจ: สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะแห่งประเทศไทย
    ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์

    1457683
    Users Today : 51
    Users Yesterday : 1182
    This Month : 25423
    This Year : 44682
    Views Today : 111
    Total views : 1551350

    © 2023 JNews - Premium WordPress news & magazine theme by Jegtheme.

    ไม่พบข้อมูล
    ดูทั้งหมด
    • หน้าแรก
    • เกี่ยวกับสมาคมฯ
      • สารจากนายกสมาคมฯ
      • ประวัติสมาคมฯ
      • คณะกรรมการบริหาร
    • วารสารยูโร
      • เว็บไซต์วารสารยูโร
      • Best Paper Awards
    • ชมรมย่อย
      • ชมรมควบคุมระบบขับถ่ายปัสสาวะแห่งประเทศไทย
      • ชมรมศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะเด็กแห่งประเทศไทย
    • Urology Training
    • เข้าสู่ระบบ
    • Sign Up
    • th ไทย
    • en English

    © 2023 JNews - Premium WordPress news & magazine theme by Jegtheme.

    เข้าสู่ระบบ


    ลืมรหัสผ่าน ลงทะเบียนใหม่

    ลงทะเบียน

    (เฉพาะสมาชิก TUA เท่านั้น)

    กรุณากรอกข้อมูลด้านล่าง

    เข้าสู่ระบบ

    กู้คืนรหัสผ่านของคุณ

    กรุณาระบุอีเมลของคุณ

    เข้าสู่ระบบ