• หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสมาคมฯ
    • ประวัติสมาคมฯ
    • อดีตนายกสมาคมฯ
    • สารจากนายกสมาคมฯ
    • คณะกรรมการบริหาร
    • คณะอนุกรรมการ
      • คณะอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบฯ
      • คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง
      • คณะอนุกรรมการวารสารและสารสนเทศ
      • คณะอนุกรรมการปฏิคมและประชาสัมพันธ์
  • วารสารยูโร
    • ประวัติวารสารยูโร
    • อดีตบรรณาธิการใหญ่
    • สารจากบรรณาธิการใหญ่
    • กองบรรณาธิการ
    • ติดต่อวารสารยูโร
    • เวบไซต์วารสารยูโร
    • รางวัลบทความดีเด่น
    • บทความประจำสัปดาห์
  • ชมรมต่างๆ ในสมาคมฯ
    • ชมรมควบคุมระบบขับถ่ายปัสสาวะแห่งประเทศไทย
    • ชมรมศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะเด็กแห่งประเทศไทย
    • ชมรมไทยเอนโดยูโร
    • ชมรมระบบทางเดินปัสสาวะและสุขภาพเพศชายแห่งประเทศไทย
  • การฝึกอบรมศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
    • ประวัติการฝึกอบรมฯ
    • อดีตประธานอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • สารจากประธานอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • คณะอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • หลักสูตรศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
    • ติดต่ออนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • มุมแพทย์ประจำบ้าน
    • สถาบันฝึกอบรมต่างๆ
  • ระเบียงภาพถ่าย
  • ติดต่อสมาคมฯ
  • เข้าสู่ระบบ
  • ลงทะเบียน
  • th ไทย
  • en English
Thai Urological Association - สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสมาคมฯ
    • ประวัติสมาคมฯ
    • อดีตนายกสมาคมฯ
    • สารจากนายกสมาคมฯ
    • คณะกรรมการบริหาร
    • คณะอนุกรรมการ
      • คณะอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบฯ
      • คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง
      • คณะอนุกรรมการวารสารและสารสนเทศ
      • คณะอนุกรรมการปฏิคมและประชาสัมพันธ์
  • วารสารยูโร
    • ประวัติวารสารยูโร
    • อดีตบรรณาธิการใหญ่
    • สารจากบรรณาธิการใหญ่
    • กองบรรณาธิการ
    • ติดต่อวารสารยูโร
    • เวบไซต์วารสารยูโร
    • รางวัลบทความดีเด่น
    • บทความประจำสัปดาห์
  • ชมรมต่างๆ ในสมาคมฯ
    • ชมรมควบคุมระบบขับถ่ายปัสสาวะแห่งประเทศไทย
    • ชมรมศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะเด็กแห่งประเทศไทย
    • ชมรมไทยเอนโดยูโร
    • ชมรมระบบทางเดินปัสสาวะและสุขภาพเพศชายแห่งประเทศไทย
  • การฝึกอบรมศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
    • ประวัติการฝึกอบรมฯ
    • อดีตประธานอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • สารจากประธานอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • คณะอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • หลักสูตรศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
    • ติดต่ออนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • มุมแพทย์ประจำบ้าน
    • สถาบันฝึกอบรมต่างๆ
  • ระเบียงภาพถ่าย
  • ติดต่อสมาคมฯ
ไม่พบข้อมูล
ดูทั้งหมด
  • หน้าแรก
  • เกี่ยวกับสมาคมฯ
    • ประวัติสมาคมฯ
    • อดีตนายกสมาคมฯ
    • สารจากนายกสมาคมฯ
    • คณะกรรมการบริหาร
    • คณะอนุกรรมการ
      • คณะอนุกรรมการฝึกอบรมและสอบฯ
      • คณะอนุกรรมการฝ่ายวิชาการและการศึกษาต่อเนื่อง
      • คณะอนุกรรมการวารสารและสารสนเทศ
      • คณะอนุกรรมการปฏิคมและประชาสัมพันธ์
  • วารสารยูโร
    • ประวัติวารสารยูโร
    • อดีตบรรณาธิการใหญ่
    • สารจากบรรณาธิการใหญ่
    • กองบรรณาธิการ
    • ติดต่อวารสารยูโร
    • เวบไซต์วารสารยูโร
    • รางวัลบทความดีเด่น
    • บทความประจำสัปดาห์
  • ชมรมต่างๆ ในสมาคมฯ
    • ชมรมควบคุมระบบขับถ่ายปัสสาวะแห่งประเทศไทย
    • ชมรมศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะเด็กแห่งประเทศไทย
    • ชมรมไทยเอนโดยูโร
    • ชมรมระบบทางเดินปัสสาวะและสุขภาพเพศชายแห่งประเทศไทย
  • การฝึกอบรมศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
    • ประวัติการฝึกอบรมฯ
    • อดีตประธานอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • สารจากประธานอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • คณะอนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • หลักสูตรศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
    • ติดต่ออนุกรรมการฝึกอบรมฯ
    • มุมแพทย์ประจำบ้าน
    • สถาบันฝึกอบรมต่างๆ
  • ระเบียงภาพถ่าย
  • ติดต่อสมาคมฯ
ไม่พบข้อมูล
ดูทั้งหมด
Thai Urological Association - สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์
ไม่พบข้อมูล
ดูทั้งหมด
หน้าแรก ความรู้

หนังหุ้มปลายไม่เปิด

admin โดย admin
พฤศจิกายน 16, 2020
in ความรู้
0
หนังหุ้มปลายไม่เปิด
0
SHARES
87k
VIEWS
Share on FacebookShare on Twitter

ว่าด้วยเรื่องของช้างน้อย ตอนที่ 1
?หนังหุ้มปลายช้างน้อยไม่เปิด?

โดย ลุงหมอขุน

คุณแม่ที่เพิ่งมีลูกชายคนแรก โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าเป็นหลานชายคนเดียวของทั้งสองตระกูล ที่จะต้องโตขึ้นไปเป็นความหวังของทุกคนในครอบครัวก้อมักจะมีความกังวลเกี่ยวกับ ?ช้างน้อย? ของเจ้าลูกชายหัวแก้วหัวแหวนมาถามหมออยู่บ่อยๆ (เท่าที่สังเกตรู้สึกว่าคุณแม่จะมีความสงสัยใคร่รู้มากกว่าคุณพ่อเยอะะะ) หนึ่งในคำถามยอดฮิตติดอันดับหนึ่งตลอดกาลคือ ?หนังหุ้มปลายช้างน้อยไม่เปิด!?

สวัสดีค่ะ คุณหมอขา วันนี้คุณแม่อยากจะถามว่าเราควรจะขริบหนังหุ้มปลายให้น้องตั้งแต่หลังคลอดเลยมั้ยคะ?

  • ไม่จำเป็นต้องขริบครับ เพราะประโยชน์ที่ได้รับไม่มากพอที่แพทย์จะแนะนำให้ขริบเด็กทารกแรกเกิดทุกรายครับ

อ่อค่าาา เอแล้วหนังปลายช้างน้อยเค้าจะเปิดได้เองหรอคะ?

  • ใช่ครับผม จะเปิดได้เองตามธรรมชาติครับ โดยที่อายุ 3 ขวบจะเปิดได้เองถึงร้อยละ 90 และอายุ 17 ขวบจะเปิดได้เองร้อยละ 99 ของเด็กทั้งหมดครับ

โอเคค่าาา แล้วถ้าเราช่วยรูดช้างน้อยให้น้องทุกวัน จะเปิดได้เร็วขึ้นหรือป่าวค่ะ? คือมีคนบอกมาค่ะ

  • ไม่เร็วขึ้นครับ แต่หากจะช่วยรูดจริงๆ ควรทำหลังอายุ 3 ขวบไปแล้ว และไม่ควรรูดแรงเกินไป เพราะจะทำให้หนังหุ้มปลายตีบจากแผลเป็นได้ครับคุณแม่

เอ ถ้างั้นการขริบก้อไม่จำเป็นเลยสิคะ?

  • มีเหมือนกันครับที่จำเป็น เช่น ถ้ามีข้อบ่งชี้ข้อใดข้อหนึ่ง ดังต่อไปนี้

1.?หนังหุ้มปลายตีบจากผิวหนังอักเสบเรื้อรัง?
2.?หนังหุ้มปลายอักเสบซ้ำ?
3.?ทางเดินปัสสาวะติดเชื้อซ้ำ?
4.?มีความผิดปกติแต่กำเนิดของทางเดินปัสสาวะที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ?
5.?หนังหุ้มปลายไม่เปิดเองหลังอายุ?5?ขวบ?
เป็นต้น

เข้าใจละค่ะ ว่าแต่ว่าการขริบนี่เสี่ยงมากมั้ยค้ะ??

  • ไม่มีการผ่าตัดอะไรที่ไม่มีความเสี่ยงครับ อย่างไรก้อตามเราถือว่าการขริบมีความเสี่ยงน้อยทั้งจากการผ่าตัดและการให้ยาระงับความรู้สึก 

แล้วภาวะแทรกซ้อนจะเยอะมั้ยค้าจากการขริบนี่? 

  • พบได้ไม่เยอะครับ แต่ก้อมีได้หลายอย่าง ที่พบบ่อยสุดคือ เลือดออกมากจากแผล พบได้น้อยกว่าร้อยละ 1 ครับ 

ขริบช้างน้อยเฉพาะส่วนได้มั้ยเอ่ย? 

  • ?ได้อยู่ครับ แต่จะมีความเสี่ยงที่หนังหุ้มปลายจะตีบซ้ำได้ร้อยละ 25 หมอไม่ค่อยแนะนำครับ 

?เอ ถ้าหนังหุ้มช้างน้อยไม่เปิดไปจนโตเป็นผู้ใหญ่จะมีปัญหาอะไรตามมาค่ะ? 

  • อาจมีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งช้างน้อย การติดเชื้อเอชไอวี และการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์อื่นๆ มากกว่าคนทั่วไปครับ 

ว้าววว น่ากัวเหมือนกันนะคะ เอ แต่ถ้าไม่ขริบจะพอมีวิธีอื่นให้ช้างน้อยเปิดได้ไหมคะ? 

  • มีครับผม คือการทายาสเตียรอยด์ครีมตรงหนังที่ตีบ เช้า เย็น พร้อมทั้งรูดช่วย นานประมาณ 1 เดือน ได้ผลร้อยละ 80-90 ไม่มีผลข้างเตียงร้ายแรงใดๆ หมอขอแนะนำในรายที่ช้างน้อยพอเปิดได้บ้างครับ 

ฟังดูน่าสนใจมากค่ะ ว่าแต่ว่าขอถามอีกนิดว่าถ้าเลือกขริบนี่ พอน้องโตขึ้นจะเป็นปมด้อยมั้ยคะที่ไม่มีหนังหุ้มปลาย จะโดนเพื่อนล้อมากมั้ยเนี่ย? 

  • ?อูยยยยย ไม่มีหรอกครับบบบ เป็นความกังวลเกินไป โดยที่ไม่มีหลักฐานทางการแพทย์รองรับ 

แต่เห็นคนข้างบ้านเค้าบอกว่าถ้าขริบแล้วโตขึ้นไปช้างน้อยจะมีความรู้สึกด้านชา และไม่ค่อยสู้ กลัวมากเลยค่ะตรงจุดนี้ 

  • เอ่ออออ หมอขอให้ความมั่นใจนะครับว่าการขริบไม่ได้ทำให้เสื่อมสมรรถภาพทางเพศครับ 55555 

โอเคค่าาา ขอบพระคุณคุณหมอมากนะคะ ได้ความรู้มาเยอะเลย เด่วคุณแม่จะขอกลับไปคิดดูก่อนว่าเอาแบบไหนดี และเด่วตอนบ่ายวันนี้จะรีบถามคุณหมอสูติที่ตรงรับฝากครรภ์ว่าน้องเป็นผู้หญิงหรือผู้ชายกันแน่ คุณแม่จะได้เตรียมการไว้ล่วงหน้าเลยเกี่ยวกับช้างน้อยของน้อง สวัสดีค่ะลาละค่ะ 

  • ?โชคดีคร้าบบบ (เอ้อเอ๊ย)

สุดท้ายนี้ หมอก็หวังว่าเจ้าช้างน้อยของลูกชายที่แสนน่ารักของคุณแม่ จะได้รับการเลี้ยงดูให้เติบโตขึ้นไปเป็นช้างใหญ่ที่สมบูรณ์แข็งแรงทุกคนนะครับ 

TUA ขอขอบพระคุณมาก?สำหรับเรื่องราวดีๆ เกี่ยวกับสุขภาพจาก 

ผู้เขียน รศ.นพ.พิษณุ มหาวงศ์ 
รพ.มหาราชนครเชียงใหม่

ผู้ตรวจทาน ศ.นพ.พิชัย ศุจิจันทรรัตน์ 
รพ. ศิริราช? 

Previous Post

การดูแลปืนฉีดน้ำ

Stay Connected

  • 4.4k Fans

Popular Knowledge

กระเพาะปัสสาวะทำงานไวเกิน (Overactive Bladder)

3 ปี ที่ผ่านมา
โรคนิ่วระบบทางเดินปัสสาวะในเด็ก

โรคนิ่วระบบทางเดินปัสสาวะในเด็ก

3 ปี ที่ผ่านมา
ภาวะปัสสาวะเป็นเลือด

มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ

3 ปี ที่ผ่านมา
ภาวะปัสสาวะเป็นเลือด

โรคต่อมลูกหมากโต

3 ปี ที่ผ่านมา
Thai Urological Association – สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ชมรมศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะกำเนิดขึ้นอย่างเป็นทางการครั้งแรกในวันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2508
วัตถุประสงค์ของชมรม คือ การแลกเปลี่ยนความรู้ ปรึกษาหารือกันในทางด้านวิชายูโรวิทยา

ติดตามเรา

ติดต่อสมาคม


  • สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะแห่งประเทศไทย
    ในพระบรมราชูปถัมภ์
    2 อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ปี ชั้น 7 ซอยศูนย์วิจัย
    ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร 10310
    โทรศัพท์: 02-716-6672
    อีเมล: thaiuro@gmail.com
    เพจ: สมาคมศัลยแพทย์ระบบปัสสาวะแห่งประเทศไทย
    ในพระบรมราชูปถัมภ์
  • จำนวนผู้เข้าชมเว็บไซต์

    1518957
    Users Today : 1290
    Users Yesterday : 1302
    This Month : 41001
    This Year : 41001
    Views Today : 3959
    Total views : 1711254

    © 2023 JNews - Premium WordPress news & magazine theme by Jegtheme.

    ไม่พบข้อมูล
    ดูทั้งหมด
    • หน้าแรก
    • เกี่ยวกับสมาคมฯ
      • สารจากนายกสมาคมฯ
      • ประวัติสมาคมฯ
      • คณะกรรมการบริหาร
    • วารสารยูโร
      • เว็บไซต์วารสารยูโร
      • Best Paper Awards
    • ชมรมย่อย
      • ชมรมควบคุมระบบขับถ่ายปัสสาวะแห่งประเทศไทย
      • ชมรมศัลยศาสตร์ระบบปัสสาวะเด็กแห่งประเทศไทย
    • Urology Training
    • เข้าสู่ระบบ
    • Sign Up
    • th ไทย
    • en English

    © 2023 JNews - Premium WordPress news & magazine theme by Jegtheme.

    เข้าสู่ระบบ


    ลืมรหัสผ่าน ลงทะเบียนใหม่

    ลงทะเบียน

    (เฉพาะสมาชิก TUA เท่านั้น)

    กรุณากรอกข้อมูลด้านล่าง

    เข้าสู่ระบบ

    กู้คืนรหัสผ่านของคุณ

    กรุณาระบุอีเมลของคุณ

    เข้าสู่ระบบ